Photo by Manasikul_O

ผู้ถือศีล ๘ ยืนรับประทานผิดศีลไหม : Q&A Quickly Dhrama Healing by พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี

บ่อยไหม ที่ความทุกข์กลุ้มรุมจิต  เคยเป็นไหมที่การฝึกปฏิบัติ บางครั้งก็มีคำถาม อย่างคาดไม่ถึง... ส่งคำถาม ปัญหาค้างคาใจมาได้ที่่นี่  ทุกปัญหามีคำอธิบาย... Q&A Quickly Dhrama Healing by พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี  Question :  ผู้ถือศีล ๘ ยืนรับประทาน หรือ เดินไปกินไปได้ไหมคะ ผิดศีล ผิดพระวินัยไหมคะ Answer : พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี การปฏิบัติศีล ๘ นั้นอย่างที่เคยบอกแล้วว่าเป็นการฝึกตนเองตามแบบพระอรหันต์หรือพระอริยะที่มีกิริยามารยาทสำรวมระวัง ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น อีกทั้งยังเรียนรู้ที่จะเข้าใจความพอดีในชีวิต นำตัวเองไปสู่ความพอดี ไม่เกินเลยจากความจำเป็น ฉะนั้น การที่ผู้ถือศีล ๘ จะยืนรับประทานอาหารหรือเดินไปกินไปได้หรือไม่นั้นจะไม่กล่าวถึงศีล ๘ โดยตรงแต่จะกล่าวโดยรวมถึงข้อปฏิบัติที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้สำหรับพระภิกษุผู้ฝึกปฏิบัติตนและมีกิริยาสำรวมระวัง ในส่วนแรกนั้น ไม่มีข้อห้ามเรื่องที่ผู้ถือศีล...
พระมหาอมร มหาลาโภ ขอขอบคุณ ภาพถ่ายจาก สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

ความงดงามที่เกิดบนหยาดน้ำตา โดย มหาลาโภ ภิกขุ

ความงดงามที่เกิดบนหยาดน้ำตา โดย มหาลาโภ ภิกขุ เรื่องและภาพ ความงดงามที่เกิดบนหยาดน้ำตา โดย มหาลาโภ ภิกขุ
ความอยากคือรากแห่งปัญหาทั้งปวง โดย พระพิทยา ฐานิสสโร

ความอยากคือรากแห่งปัญหาทั้งปวง โดย พระพิทยา ฐานิสสโร

ความอยากคือรากแห่งปัญหาทั้งปวง โดย พระพิทยา ฐานิสสโร            ความอยากเป็นตัวกระตุ้นให้มนุษย์คิดค้น สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ เพื่อความเป็นอยู่ที่สุขสบายทางกายซึ่งไม่เคยหยุดนิ่ง และไม่มีคำว่าพอ ยิ่งคิดค้นจนทำสำเร็จก็ยิ่งเกิดความกระหายอยากคิดค้นสิ่งใหม่ๆ มากขึ้น ที่คิดว่า ดีกว่า เล็กกว่า ใช้งานได้ง่ายกว่าฯลฯ ส่วนทางด้านผู้ใช้ ผู้เสพ ก็เช่นกัน เมื่อได้ใช้ ได้เสพ ยิ่งทำให้หลง เพลินในความสะดวกสบายเหล่านั้น ด้านหนึ่งเพิ่มอัตตาตัวตน...
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง "หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น พิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ฉบับธรรมทาน : คณะสาธยายพระไตรปิฎก โดยคุณรุ่งนภา ปัญญาวรากร คุณวิไล พชรโชค และญาติธรรม พิมพ์ที่ สำนักพิมพ์ อนันตะ

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๑๐) “เล่าเรื่องอรูปฌาน” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)...

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๑๐) “เล่าเรื่อง อรูปฌาน ” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน”

ค่าแห่งคำอธิษฐาน ๙. ขันติธรรม เรียบเรียงโดย พระครูอมรโฆสิต (ปรีชา สาเส็ง)

บททดสอบศักยภาพของมนุษย์ สะท้อนให้เห็น ค่าแห่งคำอธิษฐาน การตั้งความปรารถนาอย่างแน่วแน่ที่จะทำเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้บรรลุเป้าหมายเป็นเรื่องของใจที่มุ่งมั่นจะทำเรื่องที่กำหนดไว้ให้สำเร็จจะสำเร็จได้หรือไม่นั้น อยู่ที่การลงมือทำด้วยตนเอง. รูปปั้นสมเด็จพระพุฒาจารย์...
"พระพุทธเจ้าในจินตนาการ" ภาพประกอบสีฝุ่น โดย หมอนไม้

“โลกเพลิดเพลินสิ่งใด สิ่งนั้นเป็นภัย โลกกลัวสิ่งใด สิ่งนั้นเป็นทุกข์…ภพใหม่ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้ดับแล้วเพราะไม่ถือมั่น เป็นผู้ชนะสงคราม ” จาก “โลกสูตร”

จากแนวความคิดของ พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙,ดร. โลกสูตร จาก พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๕  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต   สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคแรกตรัสรู้...
"ชวนกันค้นหาบุญ ... คุณค่าแห่งการทำความดี อยู่ที่ไหน" โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท วัดพุทธารามเกาหลี เมืองอันซัน ประเทศเกาหลีใต้

“ชวนกันค้นหาบุญ … คุณค่าแห่งการทำความดี อยู่ที่ไหน” โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

วันหนึ่งหลังจากที่พระสงฆ์ฉันภัตตาหารเพลเสร็จแล้ว ก็นั่งสนทนาธรรมกันอยู่ในห้องพัก เสียงลูกศิษย์วัดก็มาเคาะประตูเรียก พระอาจารย์ครับมีโยมมาพบครับ ผู้เขียนก็ออกไปต้อนรับพูดคุย ถามถึงธุระที่มา มาจากไหน แต่พอมีช่วงหนึ่งของชีวิตที่ตัวเองมีความลำบาก ตกงาน ข้าวสารก็ไม่เหลือพอที่จะหุง หันหน้าไปพึ่งใครก็ไม่มีใครช่วยเหลือ ลำบากสุดๆ ไม่มีใครยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือเลย แล้วโยมก็ตบท้ายด้วยคำถามว่า แล้วเราจะทำความดีไปเพื่ออะไร เราจะทำบุญไปเพื่ออะไร ชวนกันค้นหาบุญ ... คุณค่าแห่งการทำความดี อยู่ที่ไหน
พระมหาเทอด ญาณวชิโร กับโยมแม่ใหญ่

“ ทำบุญได้ตลอดวัน จากตื่นจนหัวถึงหมอน” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๑ (ตอนที่ ๒) จากธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

ธรรมนิพนธ์ “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์อนันตะ ฉบับธรรมทาน “ ทำบุญได้ตลอดวัน จากตื่นจนหัวถึงหมอน” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่...
บิณฑบาต ภาพวาดสีฝุ่น โดย หมอนไม้

บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ (บทที่ ๑๒) การรับรู้เป็นหน้าที่ของจิต เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ (บทที่ ๑๒) การรับรู้เป็นหน้าที่ของจิต เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปณมหาเถระ) , สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ( ช่วง วรปุญฺโญ ) และ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตโต) ภาพในอดีต

มหาจุฬาฯ งามสง่าสดชื่น กลางทะเลแห่งคลื่นลม (๖) : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ปัจจุบัน พระพุทธโฆษาจารย์

มหาจุฬาฯ งามสง่าสดชื่น กลางทะเลแห่งคลื่นลม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)  พิมพ์ร่วมบำเพ็ญกุศลอุทิศถวาย ในงานพระราชทานเพลิงศพ ...

TRENDING RIGHT NOW