“พระสงฆ์ สายน้ำ และความทรงจำ” ในมหาอุทกภัย ๒๕๕๔ (ตอนที่ ๒) จากธรรมนิพนธ์ เรื่อง “สุวรรณบรรพต สยามพุทธศิลป์” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด...

ธรรมนิพนธ์ เรื่่อง สุวรรณบรรพต : สยามพุทธศิลป์ เขียนโดย พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) /พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม ๒๕๕๖ โดย สำนักพิมพ์อนันตะ "พระสงฆ์ สายน้ำ และความทรงจำ" ในมหาอุทกภัย ๒๕๕๔
ต้นฉบับ "บันทึกฝึกขีดเขียน " เล่ม ๑ โดย มนสิกุล เรื่องและภาพ

๑. ในขณะที่โลกของการอ่านเปลี่ยนไป : กว่าจะมาเป็น “บันทึกฝึกขีดเขียน เล่ม ๑.

๑. ในขณะที่โลกของการอ่านเปลี่ยนไป ฉันยังคงต้วมเตี้ยมไต่อยู่บนตัวหนังสือ แม้จะช้าๆ แต่ก็ค้นพบว่า การเขียนหนังสือบนกระดาษนั้น ยังคงมีเสน่ห์ มีชีวิต
พระอาจารย์ วิสัชนา วรปญฺโญ (พ. วิสัชนา) ภาพวาดสีชอล์ก โดย หมอนไม้

กว่าจะมาเป็น “คำนิยม” จากพระอาจารย์ วิสัชนา วรปญฺโญ (พ. วิสัชนา) สำหรับหนังสือ “บันทึกฝึกขีดเขียน” เล่ม ๑

กว่า "บันทึกฝึกขีดเขียน" เล่ม ๑ จะปรากฎออกมาเป็นรูปเล่ม ผู้เขียนก็มีเรื่องเล่าเต็มไปหมด ระหว่างทาง จริงๆ แล้ว เราทุกคนต่างเป็นนักเขียนด้วยกันทั้งนั้น เพียงแต่ เราอาจไม่ได้เขียนบนกระดาษ หรือเขียนบนโซเชียลมีเดีย แต่เราก็เขียนประทับไว้ในจิตกันทุกขณะ ทุกลมหายใจเข้าออกเลยก็ว่าได้ แล้วเราเขียนกันทางไหนล่ะ ก็เขียนกันทางความคิดไง ...
พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท, พระครูสิริวิหารการ และ พระมหาประธาน ธีรธมฺโม เยี่ยม "ป้าติช" ผู้ป่วยติดเตียงที่จังหวัดตราด

บันทึกจาริกบ้าน จารึกธรรม เมื่อวันวาน “เล่าเรื่องเทวดา ธรรมะเป็นที่พึ่งของใจ และบ้านเกิด จากสตูลถึงตราด” เขียนโดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

บันทึกจาริกบ้าน จารึกธรรม เมื่อวันวาน กับ พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท ผู้ประสานงานโครงการพระธรรมทูตอาสา ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรม” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์ อนันตะ ฉบับธรรมทาน

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๓ (ตอนที่ ๔) “หน้าที่ลูกคือบำรุงบิดามารดา ๕ สถาน” จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด...

ธรรมนิพนธ์ เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรม” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์ อนันตะ ฉบับธรรมทาน "อาตมาเตือนตัวเองเสมอ  แม่อุ้มท้องมาเก้าเดือน กว่าจะคลอดเราออกมาเป็นผู้เป็นคน จนได้บวชเรียนเขียนอ่านวันนี้ แม่ลำบากมากกว่าเราอุ้มบาตรตั้งร้อยเท่าพันเท่า"พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) โยมแม่ใหญ่จูม วงศ์ชะอุ่ม...
พระธรรมเจดีย์ (เทียบ ธมฺมธโร ป.ธ.๓) : กราบขอบพระคุณ ภาพจาก หนังสือ "มหาเวสสันดรชาดก สำนวนเทศนา ๑๓ กัณฑ์" อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรมเจดีย์ (เทียบ ธมฺมธโร ป.ธ.๓) ณ ฌาปนสถานคุรุสภา วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดพระนคร วันอาทิตย์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๔

วิถีแห่งผู้นำ : สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ๒๖. ประวัติ พระธรรมเจดีย์ (เทียบ ธมฺมธโร) ๒๗. ผู้สืบต่อสำนวนเทศน์มหาชาติตำรับวัดสระเกศ เรียบเรียงโดย...

ภาพวาด สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) โดย ศิลปิน บรรจบ ปูธิปิน : ดินสอ EE บนกระดาษ จากหนังสือ "สุวรรณบรรพต สยามพุทธศิลป์ : ศรัทธา กำเนิดพุทธศิลป์ แห่งแผ่นดินทอง" เขียนโดย พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) พิมพ์ครั้งแรก : มีนาคม ๒๕๕๖...
ขอขอบคุณภาพจาก fb สามเณรปลูกปัญญาธรรม

บัณฑิตน้อยซึมซับบทเรียนชีวิตล้ำค่า …เบื้องหลัง “สามเณรปลูกปัญญาธรรมปี ๖” โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

เมื่อบุญบวชมาถึง อะไรๆ ก็ห้ามไม่อยู่ วันพืชมงคล ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๖ ย้อนกลับไปในสมัยพุทธกาล วันที่เจ้าชายสิทธัตถะ ทรงมีอายุได้ ๗ ชันษา ทรงปลีกวิเวกไปนั่งทำสมาธิที้ใต้ต้นหว้า จนพบความสงบอันนุ่นนวลอ่อนโยนในฌาณที่ ๑ จิตใจพระองค์เปิดกว้าง ปัญญาก็ปรากฎ ทรงเห็นการเกิดของสรรพชีวิต เห็นความเชื่อมโยงของชีวิตน้อยใหญ่ในแผ่นดิน พระองค์ทรงสงสัยว่า สัตว์เล็กใหญ่กับตัวเรา...
ขอขอบคุณ ภาพถ่ายโดย พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

กรรมฐานตัดกรรมได้จริง? หรือว่าทำให้เบาบางลง แต่ในที่สุด เราก็ต้องใช้กรรมอยู่ดี : ปุจฉา-วิสัชนา กับ พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙, ดร.

"กรรมฐานตัดกรรมได้จริง? หรือว่าทำให้เบาบางลง แต่ในที่สุด เราก็ต้องใช้กรรมอยู่ดี" ปุจฉา-วิสัชนา กับ พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙, ดร. วิสัชนา โดย...

TRENDING RIGHT NOW