หน้าแรก Language tent : เข้าค่ายอักษรา

Language tent : เข้าค่ายอักษรา

    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) และคณะสงฆ์ วางรากฐานการสร้างวัดในทวีปยุโรป เดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย ประกอบพิธีอุปสมบทที่ประเทศเดนมาร์ก

    วิถีแห่งผู้นำ : สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) ๘๗. ให้โอวาทธรรมพระธรรมทูต ๘๘. อุดมการณ์การทำงานเผยแผ่ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ เรียบเรียงโดย พระครูอมรโฆสิต (ปรีชา สาเส็ง)

    พระพุทธศากยมุนี ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระราชทานให้ประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับพระบรมสารีริกธาตุ “การสร้างวัดขึ้นในต่างประเทศ   การให้พระได้มีโอกาสเดินทางไปต่างประเทศก็เพื่อเตรียมต่อลมหายใจพระพุทธศาสนาให้อยู่ในโลกต่อไป  ไม่ใช่เพื่ออะไร  ก็เพื่ออนุเคราะห์โลก  เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน” สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
    "เริ่มต้นใหม่" เขียนโดย หมอนไม้ หนังสือที่ทำถวายหลวงปู่ติช นัท ฮันห์ และหมู่บ้านพลัม ทั้งหมด

    จะไปไหน : มนสิกุล บันทึก

    จะไปไหน… หลังจากที่ฉันรู้สึกน้อยใจในโชคชะตาอย่างไม่รู้ตัวฉันก็เหวี่ยงไปเหวี่ยงมาจนเมื่ออำลาพุทธภูมิไปเมื่อวันก่อน วันต่อมาฉันก็ฝันเห็นว่าหลวงพี่นิรามิสาชวนฉันเดินในสวนไปกับลมหายใจอย่างมีสติแล้วหลวงพี่นิรามิสาก็กอดคุณแม่ของฉันฉันกับแม่และน้องเราไปเข้าคอร์สหลวงปู่ติช นัท ฮันห์ด้วยกัน พี่เสาวนีย์ ธโนฆาภรณ์ และอาจารย์คุณลุงธีรทาสเป็นคนเชียร์ให้ฉันไปหมู่บ้านพลัมประเทศฝรั่งเศสหลังจากติดตามหลวงปู่ติช นัท ฮันห์ ตอนท่านจาริกธรรมกลับประเทศเวียดนามเป็นครั้งแรกในเวลา ๔๐ ปีที่ท่านจากไปจนออกมาเป็นหนังสือเล่มนี้ “เริ่มต้นใหม่”ตั้งใจทำถวายหลวงปู่ติช นัท ฮันห์ จนสำเร็จเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ที่อาจารย์คุณลุงธีรทาสบอกว่า เป็นบุญใหญ่ที่พาเดินทางข้ามภพชาติได้อย่างไม่ตกหล่นแล้ว โรงเจเป้าเก็งเต๊งคือจุดเริ่มต้น ของการเดินทางด้านในยังมีภาพเรื่องราวมากมายที่ผุดขึ้นระหว่างการสวดมนต์สองวันที่ผ่านมาฉันจึงจัดคอร์ส...
    "ปักกลดกลางป่ากระดาษ" เขียนโดย หมอนไม้ หนังสือพิมพ์แจกเป็นธรรมทานเล่มแรก

    ก่อนจะเดินต่อไป : มนสิกุล บันทึก

    ก่อนจะเดินต่อไป... ฉันกลับมาทบทวนตัวเอง ครั้งหนึ่งกับการคิดว่า ตัวเองจะเดินตามเส้นทางพุทธภูมิ อันยาวไกล เพื่อช่วยเหลือผู้คนให้ได้มากที่สุด ตามรอยพระโพธิสัตว์สายเซน อาจารย์คุณลุงธีรทาส และพี่เสาวณีย์ ธโนฆาภรณ์
    สามเณรเกี่ยว โชคชัย (รูปซ้าย)

    วิถีแห่งผู้นำ : สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) ๔๐. อุปสมบท ๔๑. ทรงพระปาฏิโมกข์ ๔๒. เครื่องบูชาพระปาฏิโมกข์ เรียบเรียงโดย พระครูอมรโฆสิต...

    เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ถือเป็นหน้าที่สำคัญที่จะต้องอบรมสามเณรภายในพระอารามด้วยตัวของท่านเอง ทุกวันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ เรียนรู้ปฏิปทาและวัตรปฏิบัติพระเถระแห่งยุคสมัยกึ่งพุทธกาล ผู้นำความสมานสามัคคีในคณะสงฆ์อย่างหมดจดและงดงาม
    ค่ำคืนอันโดดเดี่ยวของเจ้าชายสิทธัตถะ : ภาพวาดโดย มนสิกุล วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2565 แรม 9 ค่ำ เดือน 4

    แสงสว่างที่กลางใจ (เมื่อไรนะจักปรากฏ) : mon’memo

    แสงสว่างที่กลางใจ (เมื่อไรนะจักปรากฏ) : mon'memo แม้ในที่ซึ่งมืดมิดที่สุดก็ยังมีแสงสว่างแสงสว่างอาจไม่ได้ปรากฏข้างนอกแต่มันอาจปรากฏในใจเราขอเพียงยังมีลมหายใจย่อมมีหนทางที่จะนำไปพบกับแสงสว่างเป็นแน่ ธรรมวิจัยเล็กๆในค่ำคืนนี้กับลมหายใจในปัจจุบันและความคิดที่ย้อนไปในอดีตถึงเรื่องราวของมหาบุรุษท่านหนึ่งเมื่อสองพันหกร้อยกว่าปีก่อน ในค่ำคืนที่มืดมิดที่สุดมหาบุรุษท่านนั้นที่เรารู้จักท่านในนามเจ้าชายสิทธัตถะพระองค์ทรงนั่งลงที่โคนต้นโพธิ์พฤกษ์หลังจากพระองค์กลับมาฉันพระกระยาหารแล้วปัญจวัคคีย์ก็ทิ้งพระองค์ไปด้วยความยึดติดว่าการบรรลุธรรมนั้นจะต้องเพียรอย่างสุดโต่ง เมื่อพระองค์ละความสุดโต่งกว่าจะพบทางสายกลางก็ต้องแลกกับความสูญเสียปัญจวัคคีย์ทั้งห้า
    กระบองเพชรน้อย : ภาพวาดโดย มนสิกุล ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๕

    “ความใส่ใจ” : mon’memo

    ความใส่ใจ กระบองเพขรต้นน้อย นอนหลับมาหลายปี ในช่วงที่ฉันหลงติดอยู่กับความคิด ฉันมองไม่เห็นกระบองเพชร ฉันมองไม่เห็นความเขียว ฉันมองไม่เห็นว่ามันต้องการใครสักคน
    "ตัวหนังสือหลวงพ่อสมเด็จฯ" ภาพถ่ายโดย มนสิกุล

    แด่ … ความทรงจำอันงดงาม (๑) คำสารภาพ : เขียนโดย มนสิกุล

    เมื่อครั้งที่ไปกราบพระบรมสารีริกธาตุ ภูเขาทอง วัดสระเกศ ราชวรวิหารที่ร้านกาแฟ ระหว่างทางขึ้นภูเขาทอง มีจัดนิทรรศการเกี่ยวกับหลวงพ่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ)ข้าพเจ้าถ่ายภาพเก็บไว้บ้าง เมื่อนำมาอ่านในช่วงเวลาผ่านไปจะกี่ปีก็ตามตัวหนังสือของท่านยังบอกกล่าวถึงสัจธรรมแห่งการดำรงชีวิตที่เป็นบุญมากไปกว่านั้นตัวหนังสือของท่านยังบอกกล่าวถึงมโนปณิธานของท่านที่สืบเนื่องมาแต่บรรพชนจนถึงท่านอาจารย์เจ้าคุณเทอดพระอาจารย์ที่ข้าพเจ้าศรัทธาเหนือเศียรเกล้า เมื่อครั้งสมัยที่ข้าพเจ้าย้งทำสื่อในกระแสข้าพเจ้าได้มีโอกาสสัมภาษณ์ท่านอาจารย์เจ้าคุณเทอดในขณะนั้นจนก่อเกิดบทความ “มโนปณิธาน” ของท่านสี่สิบกว่าตอนแล้วที่ยังเขียนไม่จบ ท่านมักเล่าเรื่องการทำงานของหลวงพ่อสมเด็จฯ...
    พระพุทธเจ้า ในใจของข้าพเจ้า : ภาพวาดโดย มนสิกุล

    ทำไม เรื่องของพระพุทธเจ้าจึงไม่มีวันตาย : Mon ‘ memo

    ทำไมเรื่องราวของพระพุทธเจ้าจึงเป็นอมตะและไม่มีวันตาย แม้จะผ่านไปสองพันหกร้อยกว่าปีแล้วก็ตาม ผู้คนบนโลกยังคงเล่าขานถึงพระองค์ทุกวัน รวมถึงตัวฉันด้วย แมเก่าปฏิบัติธรรมยังไม่ก้าวหน้า ยังไม่สามารถลดละความโกรธได้ แต่ฉันยังคงสาธยายประวัติของพระองค์ ผ่านการสวดมนต์ทุกวัน
    ภาพวาด โดย มนสิกุล วันพฤหัสบดีที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๓

    ปักกลดกลางใจ (๑) การเดินทางของเจ้าชายสิทธัตถะเพื่อตามหาความรักที่แท้จริงจากแม่ เขียนโดย มนสิกุล

    ปักกลดกลางใจ (๑) การเดินทางของเจ้าชายสิทธัตถะเพื่อตามหาความรักที่แท้จริงจากแม่ ที่ใดมีความรักที่แท้จริง ที่นั่นมีความมั่นคง ความรักของแม่ แท้จริง มั่นคง ปลอดภัย
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ภาพในอดีต

    ปุจฉา-วิสัชนา อกาลิโก : จากหนังสือพุทธประทีป จากรายการ  ททบ.๗(๒๕๐๗) โดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่ พระราชวิสุทธิเมธี

    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ปุจฉา-วิสัชนา อกาลิโก :จากหนังสือพุทธประทีป จากรายการ  ททบ.๗ (๒๕๐๗) โดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่ พระราชวิสุทธิเมธี

    TRENDING RIGHT NOW