หน้าแรก Dhamma's Daily : บันทึกธรรมวิจัย

Dhamma's Daily : บันทึกธรรมวิจัย

    “พระพุทธเจ้าแก้ปัญหาเรื่องโรคระบาด กับความไม่เป็นธรรมอย่างไรในสมัยพุทธกาล และจะหาทางออกอย่างไรในยุคนี้โดยวิถีแห่งพระพุทธองค์” ปุจฉา-วิสัชนากับ พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙ ,ดร.

    พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙ ,ดร. ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ ปุจฉา : พระพุทธเจ้าแก้ปัญหาเรื่องโรคระบาด กับความไม่เป็นธรรมอย่างไรในสมัยพุทธกาล และจะหาทางออกอย่างไรในยุคนี้ โดยวิถีแห่งพระพุทธองค์ พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙,ดร. วิสัชนา :
    ท่านอาจารย์เจ้าคุณพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น ราวปี พ.ศ.๒๕๕๙

    “อนัตตา ปล่อยวางตัวตนที่ว่างเปล่า ” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๑ (ตอนที่ ๖) จากธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

    ธรรมนิพนธ์ “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์อนันตะ ฉบับธรรมทาน “ อนัตตา ปล่อยวางตัวตนที่ว่างเปล่า ” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๑
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น เมื่อครั้งอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายาว่า "ญาณวชิระ" แปลว่า ผู้มีปัญญาประดุจเพชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ) เป็นพระอุปัชฌาย์

    ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๒๖) บรรพ์ที่ ๔ “การอุปสมบท : การบวชเป็นพระภิกษุ” (๙) โดย ญาณวชิระ

    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น ปีพ.ศ.๒๕๕๙ จิรํ ติฏฺฐตุ พุทธสาสนํ ฯ ขอพระพุทธศาสนาจงดำรงอยู่ตลอดกาลนาน ญาณวชิระ
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น และคณะสงฆ์ ออกบิณฑบาตที่บ้านปากน้ำ บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.๒๕๕๙

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๗๓ “ปณิธานแห่งชีวิต”

    พระอาจารย์มหามังกร ปญฺญาวโร รำลึกวันวาน...มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๗๓ “ปณิธานแห่งชีวิต"
    พระมหากลั่น ปิยทัสสี พระอาจารย์สอนภาษาบาลีให้แก่พระเงื่อม อินทปัญโญ จนกระทั่งสอบ ปธ.๓ ประโยคได้โดยไม่ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนตามปกติ (ที่มา หนังสืออนุทินภาพ ๖๐ ปี สวนโมกข์ หน้า ๓๔)

    “หลวงพ่อได้พบกับท่านพุทธทาส เพราะเป็นศิษย์อาจารย์มหากลั่นด้วยกัน ” เปิดบันทึกเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ) เขียนถึงท่านพุทธทาส และ เปิดจดหมายท่านพุทธทาสเขียนถึงเจ้าประคุณสมเด็จฯ

    ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ ขอขอบคุณ ภาพจากหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ "เพราะเราทุกคนคือคนเดียวกัน มาจากธาตุสี่ ดิน น้ำ ไฟ ลม เหมือนกัน และจะต้องกลับคืนสู่ธาตุสี่เช่นกัน" ...น้อมเศียรเกล้า อาจาริยบูชา "๑๑๔ ปีชาตกาลท่านอาจารย์พุทธทาส ๒๗ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ "
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น บิณฑบาตกับคณะสงฆ์ ที่บ้านปากปากน้ำ บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี ปีพ.ศ.๒๕๖๐ ขอขอบคุณ ภาพถ่ายโดย พระมหาปฐมพงษ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๗๒ “ลมหายใจพระสงฆ์ คือ อายุพระศาสนาฯ”

    รำลึกวันวาน...มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) (ตอนที่ ๗๒)  ลมหายใจพระสงฆ์ คือ อายุพระศาสนาฯ

    ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๒๕) บรรพ์ที่ ๔ “สามเณรราหุล สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา” (๘) โดย ญาณวชิระ

    จิรํ ติฏฺฐตุ พุทธสาสนํ ฯ ขอพระพุทธศาสนาจงดำรงอยู่ตลอดกาลนาน ญาณวชิระ ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๒๕)...
    พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย ผู้เขียน

    จาริกธรรมในอเมริกา ตอนที่ ๓๔ “ไซเบอร์จะมีบทบาทแทนที่พระสงฆ์ ?” โดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย กลุ่มเพื่อชีวิตดีงาม

    ขอขอบคุณ ภาพถ่ายโดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย จาริกธรรมในอเมริกา ตอนที่ ๓๔ “ไซเบอร์จะมีบทบาทแทนที่พระสงฆ์ ?” โดย พระครูสมุห์สุพัฒน์  อนาลโย
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น

    “ไตรลักษณ์ในชีวิต ในชีวิตมีไตรลักษณ์” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๑ (ตอนที่ ๕) จากธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

    ธรรมนิพนธ์ “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์อนันตะ ฉบับธรรมทาน “ไตรลักษณ์ในชีวิต ในชีวิตมีไตรลักษณ์ ” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๑ (ตอนที่...
    หนังสือ “ทุกข์-สุข” เขียนโดย พระมหาธนเดช ธมฺมปญฺโญ

    Book Reviews “ในช่องว่าง …ระหว่างความทุกข์และความสุข” จากหนังสือ “ทุกข์-สุข” โดย พระมหาธนเดช ธมฺมปญฺโญ กลุ่มใต้ร่มพุทธธรรม

    "ไม่ว่าจะ ทุกข์ เพียงใด สุดท้ายก็จะผ่านไป ขอให้เก็บบทเรียนไว้เตือนใจ และ ไม่ว่าจะ สุข เพียงใด ก็จะผ่านไปเช่นกัน ขอให้สิ่งนั้นเป็นความทรงจำที่งดงาม"พระมหาธนเดช ธมฺมปญฺโญ พระมหาธนเดช ธมฺมปญฺโญ ผู้เขียนหนังสือ "ทุกข์ -สุข" ประธานกลุ่มใต้ร่มพุทธธรรม สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ ขอขอบคุณ ภาพถ่ายโดย พระมหาปฐมพงษ์...

    TRENDING RIGHT NOW