หน้าแรก มโนปณิธาน

มโนปณิธาน

    รำลึกวันวาน… มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๑๑) ครูบาอาจารย์ คือ รุ่งอรุณทางความคิด

    นอกจากหนังสือหลายๆ เล่มที่เป็นแรงบันดาลใจในชีวิตของพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) แล้ว อาทิ หนังสือ "นายแพทย์ชิวาโก" ที่ส่งทอดพลังความคิดมายังอุดมการณ์การบวชเรียนในชีวิตที่คิดช่วยเหลือผู้คนมาโดยตลอด นอกจากนี้ก็ยังมีหนังสือ “สิทธารถะ”,  “บทเรียน” , และ “เดเมียน” ของเฮอร์มานน์  เฮสเส นักเขียนชาวเยอรมัน-สวิส ผู้ได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม ในปี ๒๕๘๘ ( ค.ศ. ๑๙๔๕) สำนวนแปลของ สดใส
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

    รำลึกวันวาน… มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ ๑. กตัญญุตาบูรพมหากษัตริย์ไทย

    เมื่อเทียนเล่มหนึ่งถูกจุดขึ้น... แสงสว่างก็ปรากฏยังเทียนเล่มต่อๆ ไปไม่สิ้นสุด ในช่วงท้ายๆ ของการทำงานในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ และหนังสือพิมพ์คมชัดลึก ผู้เขียนได้กราบขอสัมภาษณ์ประวัติของท่านอาจารย์เจ้าคุณพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) อยู่หลายครั้ง หลังจากท่านเมตตาเขียนบทความอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” เพื่อน้อมถวายเป็นพระราชกุศลถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙) ให้กับนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ เป็นธรรมทานก่อนที่นิตยสารจะปิดตัวลง
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น กับ ฮิมานชู โชนิ ผู้แสดงเป็นพระพุทธเจ้า ในภาพยนต์ซีรีส์ “พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก” ขอขอบคุณ ภาพจาก สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคง แห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศฯ

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๔๖) พระพุทธเจ้า คือกัลยาณมิตรที่สุดแห่งชีวิตพรหมจรรย์

    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น กับ ฮิมานชู โชนิ ผู้แสดงเป็นพระพุทธเจ้า ในภาพยนต์ซีรีส์ “พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก” ขอขอบคุณ ภาพจาก สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคง แห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศฯ รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น เมื่อครั้งนังเป็นพระมหาเทอด ญาณวชิโร กับสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) พระอุปัชฌาย์

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๕๒ “พลังแห่งพุทธานุภาพ จากพระพุทธเจ้าถึง ปฏิปทาหลวงพ่อสมเด็จฯ พระเถระผู้ปิดทองหลังพระ”

    วันเสาร์ที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นวันคล้ายวันเจริญอายุวัฒนมงคลเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร อดีตประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช พระมหาเถระผู้อยู่ในประวัติศาสตร์ความทรงจำพระพุทธศาสนาโลก พระผู้ปิดทองหลังพระ ผู้บุกเบิกพระธรรมทูตไทยในต่างแดนจนกลายเป็นตำนานในการเปิดโลกพระพุทธศาสนาในดินแดนตะวันตก "ขอให้พระพุทธศาสนาได้ตั้งมั่นอยู่ในประเทศไทย คู่กับสถาบันชาติ และสถาบันพระมหากษัตริย์"

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๔๔) ตามรอยพระพุทธเจ้า กับ “ลูกผู้ชายต้องบวช” บนหนทางแห่งการดับทุกข์ และการเริ่มต้นเช้าวันใหม่ด้วยการแบ่งปัน

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) (ตอนที่ ๔๔) ตามรอยพระพุทธเจ้า กับ “ลูกผู้ชายต้องบวช” บนหนทางแห่งการดับทุกข์ และการเริ่มต้นเช้าวันใหม่ด้วยการแบ่งปัน โดย มนสิกุล โอวาทเภสัชช์
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น ออกบิณฑบาตพร้อมคณะสงฆ์ ที่บ้านปากน้ำ บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี ปีพ.ศ.๒๕๖๐

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๕๙ “บนเส้นทางแห่งศรัทธาที่มั่นคง คือกำลังค้ำจุนพระพุทธศาสนาให้มีลมหายใจต่อไป…”

    "ขอให้ตั้งใจให้ดี การตั้งใจให้ดี ฟังผิวเผินแล้วดูเป็นคำธรรมดา แต่ที่จริง เป็นคำประเสริฐ เป็นคำสูงส่ง การตั้งใจให้ดี เป็นเรื่องของบารมี เป็น "อธิษฐานบารมี" ตั้งใจให้ดีว่า " เราจะไม่ทำชีวิตให้ว่างเปล่าจากความดีงาม เราจะทำทุกลมหายใจในแต่ละวัน (เท่าที่เหลืออยู่) ให้เป็นลมหายใจที่มีคุณค่า
    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) และ พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส กับ คณะสงฆ์และชาวบ้านที่พระเจดีย์กลางน้ำ บ้านปากน้ำ บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี

    รำลึกวันวาน …มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๗๗ “เทียนพรรษาส่องสว่างที่ฐานพระเจดีย์ …แบบอย่างของครูบาอาจารย์ผู้มีชีวิตเพื่อส่วนรวม”

    พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) และ พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส กับ คณะสงฆ์และชาวบ้านที่พระเจดีย์กลางน้ำ บ้านปากน้ำ บุ่งสระพัง จังหวัดอุบลราชธานี รำลึกวันวาน ...มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
    (พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) และพระครูสิริวิหารการ กับคณะสงฆ์วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พร้อมทั้งชาวจีนทั้งชายหญิงมาบวชพระ และบวชชี ปฏิบัติธรรม ๑ เดือนในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๘)

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) (ตอนที่ ๗๙) “ประเพณีนี้เองที่รักษาแก่นของธรรม แก่นศาสนาไว้ไม่ให้ตกหล่นไปตามกาลเวลา”

    "ทุกสังคม ทุกองค์กร มีแบบแผน มีประเพณี มีกฎ มีระเบียบ ยึดถือ ตกทอด ควรให้ความเคารพในแบบแผน ประเพณีของท่าน และประเพณีนี้เองไม่ใช่หรือ ที่รักษาแก่นของธรรม แก่นศาสนาไว้ไม่ให้ตกหล่นไปตามกาลเวลา "พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) และ พระครูสิริวิหารการ กับคณะแม่ชี ซึ่งเป็นชาวจีนที่มาบวชเนกขัมมะในประเทศไทยเป็นเวลา ๑ เดือนในปีพ.ศ.๒๕๕๘

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๔๓) บิณฑบาต กับ บทบาทพระพี่เลี้ยง และ อนุสติจากแม่

    จากคอลัมน์ “ธรรมโอสถ” นิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ ฉบับ ๑๑๙๘ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ รำลึกวันวาน ...มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ฺ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๔๓

    TRENDING RIGHT NOW