พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น

วันนี้วันพระ วันจันทร์ที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๙ น้อมรำลึกถึงพระรัตนตรัย ศึกษาธรรมจากธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน”...

ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดยพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น พิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ฉบับธรรมทาน สำนักพิมพ์อนันตะ แม้โลกกลับตาลปัตร ใจเราก็ไม่กลับตาลปัตรไปด้วย เพราะมีสติประคองใจ จึงทำให้เห็นธรรมะในทุกสถานการณ์ เมื่อใจอยู่กับปัจจุบัน ... โชคดีที่มีพระสุปฏิปันโน...
ดอกไม้น้อยอหังการ จะบานแต้มโลก โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ เรื่อง ปัญญวชิรา ภาพ

ดอกไม้น้อยอหังการ จะบานแต้มโลก โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ

เมื่อพระเขียนบทกวี ... บทกวีที่มีลมหายใจแห่งธรรม ... ดอกไม้น้อยอหังการ จะบานแต้มโลก โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ ดอกไม้น้อยอหังการ จะบานแต้มโลก โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ เรื่อง...
พระมหาเรวัตร ปภาสปญฺโญ รับปริญญาโทจาก จากมหาวิทยาลัย Edinburgh Napier University ประเทศสกอตแลนด์

จาริกธรรมสกอตแลนด์ ตอนที่ ๗ “ปริญญาทางโลกและปริญญาทางธรรม” โดย พระใบฏีกาคทาวุธ คเวสกธมฺโม

"อาตมาเชื่อว่า... ถ้าหากเราสามารถศึกษาปริญญาทางโลกและปริญญาทางธรรมควบคู่ไปด้วย ข่าวตามหน้า Social Network ในสังคมโลกปัจจุบัน เช่น ฆาตกรรม ข่มขืนกระทำชำเรา ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ยาเสพติด หรือข่าวอาชญากรรมอันสะเทือนใจอื่นๆ อีกมากมาย จะลดน้อยลงแน่นอน"

สามเณรน้อยฝึกตน ทนหิว เบื้องหลัง “สามเณรปลูกปัญญาธรรมปี ๗” โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

หลายสัปดาห์ก่อนเล่าถึงวิธีการแจกภัตตาหารของวัดป่าไทรงามไปแล้ว วันนี้พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท เมตตาเล่าวิถีของการฉันน้ำปานะที่นี่ หลายคนอาจจะคิดว่าการฉันน้ำปานะเฉยๆ คงไม่มีอะไรมาก เพียงแค่เอาน้ำที่ท่านอนุญาตให้ทำเป็นน้ำปานะแล้วก็ให้สามเณรได้ฉัน นั่งฉันตรงไหนก็ได้ แต่สำหรับวิถีวัดป่าสายหลวงปู่ชา สุภัทโท นั้นมีรายละเอียดตามพระวินัย
ครูบาอภิชัยขาวปี ขอขอบคุณ ภาพจาก : tnews, dharma-gateway.com , th.wikipedia.org

น้อมเศียรเกล้าถวายอภิวาท “ครูบาขาวปี” ศิษย์เอกครูบาศรีวิชัย ผู้ถูกจองจำ จากการรังสรรค์นวกรรมในพระพุทธศาสนาเพื่อรับใช้สังคม

ด้วยความเป็นทุกข์อย่างถึงที่สุดในชีวิต ที่ครูบาอาจารย์พระเถระ พระสงฆ์สุปฏิปันโน ถูกกล่าวหาใส่ความ ถูกจับโดยไม่มีความผิด จึงได้ศึกษาประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ก็พบครูบาอาจารย์มากมาย ผู้เสียสละชีวิตเพื่อพระพุทธศาสนา เพื่อธรรม เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ และเพื่อช่วยสังคมในยามเดือดร้อนในภัยภิบัติต่างๆ นานามาทุกยุคทุกสมัย กลับต้องอธิกรณ์ ถูกจองจำอย่างลำบากยากเข็นอยู่ในเรือนจำ หลายครั้งหลายหน เพราะมองพระพุทธศาสนาในมุมกว้าง มองไปถึงอนาคตกาล ในการที่จะช่วยเหลือผู้คนให้พ้นทุกข์นานัปการ ด้วยหนทางแห่งพระพุทธองค์ที่วางไว้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ที่ตรงตามพระธรรมวินัย ขณะเดียวกัน ก็ประยุกด์ธรรมเพื่อรับใช้สังคม ตามกำลังที่ทำได้ในยุคสมัยนั้นๆ หากทว่า บางครั้งทางการบ้านเมืองไม่เข้าใจการทำงานของพระเถระ และพระสงฆ์สุปฏิปันโน ผู้มีบทบาทหน้าที่หลายด้าน ทั้งต้องบริหารงานปกครองเพื่อเกื้อกูลพระสงฆ์ให้ได้ทำหน้าที่เผยแผ่ทุกด้านอย่างเต็มกำลังตามรอยพระพุทธเจ้าที่พระองค์พาดำเนินเพื่อช่วยเหลือผู้คนให้พ้นทุกข์ ทั้งหมดเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ที่ฆราวาส ผู้มาทำงานด้านพระพุทธศาสนาไม่เข้าใจ...
กิมพิลสูตร ภาพประกอบสีฝุ่น โดย หมอนไม้ 1

“พระกิมพิลเถระ” ผู้รักความสามัคคี และความเป็นธรรม จาก กิมพิลสูตร

"กิมพิลสูตร " จากแนวความคิดของพระมหาขวัญชัย กิตติเมธี ป.ธ.๙,ดร. สู่การเรียนพระธรรมจากพระพระไตรปิฎก เรื่องที่ ๒ "พระกิมพิลเถระ" ผู้รักความสามัคคี และความเป็นธรรม จาก กิมพิลสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต ปัญจมปัณณาสก์ กิมพิลวรรคที่ ๑ "พระกิมพิลเถระ"
กราบขอบพระคุณ ภาพถ่ายโดย พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

“ลูกผู้ชายต้องบวช” (ตอนที่ ๔๔) บรรพ์ที่ ๘ “สมาธิภาวนาและธุดงค์”(๒) “อารมณ์พระกรรมฐาน ๔๐” เรียบเรียงโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น

หนังสือ “ลูกผู้ชายต้องบวช” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) “ลูกผู้ชายต้องบวช” (ตอนที่ ๔๔) บรรพ์ที่ ๘ “สมาธิภาวนาและธุดงค์”(๒) "อารมณ์พระกรรมฐาน ๔๐" เรียบเรียงโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตโต) , สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปณมหาเถระ) และ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ( ช่วง วรปุญฺโญ )

มหาจุฬาฯ งามสง่าสดชื่น กลางทะเลแห่งคลื่นลม (๒)กำลังยังมีที่จะส่งต่อก้าวกันไป : พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ปัจจุบันสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตโต) , สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปณมหาเถระ) และ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ( ช่วง วรปุญฺโญ ) ภาพในอดีต มหาจุฬาฯ งามสง่าสดชื่น กลางทะเลแห่งคลื่นลม (๒)พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ธรรมนิพนธ์ “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์อนันตะ ฉบับธรรมทาน

จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-แม่ใหญ่ ฉบับที่ ๒ (ตอนที่ ๓) “มรดกของบรรพบุรุษ” จากธรรมนิพนธ์ เรื่องหลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

ธรรมนิพนธ์ “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักพิมพ์อนันตะ ฉบับธรรมทาน “ มรดกของบรรพบุรุษ” จดหมายถึงโยมพ่อใหญ่-โยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๒ (ตอนที่ ๓)
ทศชาติ : ปณิธานมหาบุรุษไม่เปลี่ยนแปลง เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

ทศชาติ : ปณิธานมหาบุรุษไม่เปลี่ยนแปลง (ชาติที่ ๑) พระเตมีย์ : เนกขัมบารมี (ตอนที่ ๑) ” กำเนิดพระเตมีย์” เขียนโดย ญาณวชิระ...

ทศชาติ : ปณิธานมหาบุรุษไม่เปลี่ยนแปลง เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) /ที่ปรึกษา : พระพรหมสุธี ,พระธรรมสิทธินายก, พระราชปัญญาโสภณ, พระสิทธิธรรมธาดา , พระครูอรรถเมธี, พระครูปลัดสัมพิพัฒนธุตาจารย์ / ภาพประกอบ-แบบก : ทวิช สังข์อยู่ /จิตกรรมฝาผนัง : พระอุโบสถวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ /จัดพิมพ์โดย กองทุนพุทธานุภาพ วัดสระเกศ...

TRENDING RIGHT NOW