วันนี้วันพระ ศึกษา “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” บทที่ ๑๙ (ตอนที่ ๒๐) คัมภีร์ที่ ๖ ยมก (จบ) : “สภาวธรรมที่ทรงยกขึ้นแสดงด้วยวิธีแห่งคู่ธรรม (ถามตอบภายในจิตจนสิ้นสงสัย)...
"ความละเอียดของลมหายใจเข้าออก(อัสสาสะและปัสสาสะ) สัมพันธ์อยู่กับความละเอียดของจิตซึ่งเป็นขั้นตอนของการก้าวเข้าสู่สภาวะที่เรียกว่า “ฌาน” จิตละเอียดลง ลมหายใจก็จะละเอียดลงด้วย ได้อธิบายไว้บ้างแล้วในบทก่อน"พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) จัดพิมพ์เป็นธรรมทานโดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๑
บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ (บทที่ ๔) “ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาธิ” เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ
(บทที่ ๔) “ความเป็นผู้ฉลาดในการออกจากสมาธิ” เขียนโดย...
“ด้วยแรงแห่งศรัทธา : กตัญญูกตเวทิตา เครื่องหมายแห่งคนดี” เขียนโดย พระจักกฤช สุทฺธจิตโต
จากการอบรมพระนักเขียนทั่วประเทศ เมื่อวันที่ ๑๓-๑๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ณ ศาลาหลวงพ่อโชคดี วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร จัดโดย สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ สู่การเผยแผ่ธรรมเป็นธรรมทาน บนหน้าหนังสือพิมพ์คมชัดลึก ทุกวันอังคารในหน้าธรรมวิจัย และทุกวันพฤหัสบดี หน้าาพระไตรสรณคมน์ จนกระทั่งหนังสือพิมพ์ปิดตัวลงเมื่อต้นเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ ที่ผ่านมา
วันนี้วันพระ ศึกษา “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” บทที่ ๑๕ (ตอนที่ ๑๖) คัมภีร์ที่ ๕ กถาวัตถุ (๒) : ...
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง "ความเป็นมาของพระอภิธรรม" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ จัดพิมพ์โดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ฉบับธรรมทาน
วันนี้วันพระ วันจันทร์ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ แรม ๑๔ ค่ำ เดือน...
บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ (บทที่ ๒) “ความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาธิ” เขียนโดย ญาณวชิระ : พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)
ภาพประกอบลายเส้นพู่กันจีน โดย หมอนไม้
บันทึกธรรม สัมมาสมาธิ
(บทที่ ๒)
“ความเป็นผู้ฉลาดในการเข้าสมาธิ”
เขียนโดย ญาณวชิระ
วันนี้วันพระ ศึกษา “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” บทที่ ๑๔ (ตอนที่ ๑๕) คัมภีร์ที่ ๕ กถาวัตถุ : ว่าด้วยเรื่องหลักคำสอน เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์...
"บนเส้นทางการประกาศพระศาสนาของพระพุทธองค์ ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเป็นต้นมา เต็มไปด้วยการท้าทาย ท่ามกลางการต่อสู้ทางการเมืองเพื่อช่วงชิงอำนาจรัฐของแคว้นต่างๆ และการประกาศคำสอนของเจ้าลัทธิทั้งหลาย ที่หมายเอาชนะพระพุทธองค์ และเหล่าพระสาวกด้วยการตั้งเรื่องขึ้นโต้วาทะ เพื่อหักล้างหลักคำสอน ทั้งใส่ความ ทั้งใช้เล่ห์เพทุบาย บ้างก็หมายเอาชีวิต บ้างก็มุ่งทำลายชื่อเสียง เพื่อตัดกำลังพระศาสนาให้อ่อนแอลง พระสาวกบางองค์ต้องจบชีวิตลงบนเส้นทางการประกาศพระศาสนา เช่น พระโมคคัลลานะ เป็นต้น"
พระราชกิจจาภรณ์...
สิ่งที่พ่อสร้างไว้ เขียนโดย พระมหาประสิทธิ์ ญาณปฺปทีโป
ขอขอบคุณ ภาาพจากปฏิทินธนาาคารออมสิน พ.ศ.๒๕๖๐
สิ่งที่พ่อสร้างไว้
เขียนโดย พระมหาประสิทธิ์ ญาณปฺปทีโป
กลุ่มเพื่อชีวิตดีงาม/ สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ...
วันนี้วันพระ ศึกษา “ความเป็นมาของพระอภิธรรม” บทที่ ๑๓ (ตอนที่ ๑๔) คัมภีร์ที่ ๔ ปุคคลบัญญัติ : ว่าด้วยสภาวะผู้ที่ยังไม่หลุดพ้นกับผู้ที่หลุดพ้นแล้ว เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์...
ธรรมนิพนธ์เรื่อง "ความเป็นมาของพระอภิธรรม" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) จัดพิมพ์โดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธุ์ ๒๕๖๑ ฉบับธรรมทาน
ในคัมภีร์ที่ ๔ ปุคคลบัญญัติ : อธิบายเรื่องบุคคลและบัญญัติ ดังที่อธิบายไปแล้วบางส่วนในคราวที่แล้วว่า มาจากการที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ทรงทราบถึงสภาวธรรมที่ดำรงอยู่ตามธรรมชาติในทุกมิติด้วยกำลังแห่งญาณที่เรียกว่า "สัมมาสัมโพธิญาณ" จึงทรงบัญญัติชื่อเรียกสภาวธรรมนั้นๆ แล้วนำออกแสดง...
“สุวรรณภูมิ แผ่นดินแห่งพุทธศิลป์ (Suvarnabhumi : The land of Buddhist art)” ตอนที่ ๖ : จากธรรมนิพนธ์...
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง สุวรรณบรรพต : สยามพุทธศิลป์ เขียนโดย พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) สำนักพิมพ์อนันตะ พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม ๒๕๕๖
“สุวรรณภูมิ แผ่นดินแห่งพุทธศิลป์ (Suvarnabhumi : The land of Buddhist art)”
(ตอนที่...
บทเรียนแรกของพระภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่ สอนอะไรเราบ้าง เขียนโดย มนสิกุล โอวาทเภสัชช์
วันนี้วันพระ วันจันทร์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๓ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๓ ที่ผ่านมา นพ.พิชัย ตั้งสิน กรรมการบริหารโรงแรมแม่น้ำ...