หนังสือ "Fhe Letter ถึงที่รัก...ก่อนที่เธอจะพักผ่อน" โดย ธรรมรตา

“บางครั้ง…เพียงหันหลังกลับก็พบทางออก ! ” จากบันทึกถึงน้องชายของ “ธรรมรตา” สู่หนังสือที่สร้างพลังแห่งชีวิต… “The Letter ถึงที่รัก ก่อนที่เธอจะพักผ่อน”

จากจดหมายเล็กๆ ๓๔ ฉบับ ที่ "ธรรมรตา” เขียนถึงน้องชายที่จากไป กลายมาเป็นหนังสือ “The Letter ถึงที่รัก ก่อนที่เธอจะพักผ่อน” ที่ทำให้ผู้เขียนกลับมาใคร่ครวญว่า... หากเราหันกลับมาเขียนจดหมายถึงคุณพ่อคุณแม่ พี่น้อง เพื่อนฝูง หรือแม้แต่เขียนถึงเพื่อนในสังคมบนโลกออนไลน์กันบ้างก็น่าจะดีนะ เป็นการเขียนจดหมายรักถึงมวลเพื่อนมนุษย์ในทุกมุมมองที่เรารู้สึกว่า ควรจะช่วยกันดูแล รักษา...
๒. นาฬิกาเดินช้าๆ ที่ลาดับ โดย พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี ป.ธ.๙, ดร.

นาฬิกาเดินช้าๆ ที่ลาดัก (เล ดาลัก ตอนที่ ๒) โดย พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี ป.ธ.๙, ดร.

เพื่อเป็นการฝึกสติให้รู้ตัวทั่วพร้อม สัปดาห์นี้จึงขอนำผู้อ่านไปท่องเที่ยวให้เห็นธรรมระหว่างทางที่ดาลักกันต่อ อยากจะบอกว่า ยิ่งเราพิจารณาใคร่ครวญสิ่งใดก็ตามก่อนทำ เราจะค้นพบว่า นาฬิกาเดินช้าลง เช่นเดียวกับตอนนี้ที่แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า “ Slow life at Leh Ladakh” ท่องเที่ยวโลกกะธรรม “นาฬิกาเดินช้าๆ ที่ลาดัก” (เล ดาลัก ตอนที่ ๒) โดย พระมหาขวัญชัย...
“สาธารณสงเคราะห์” ศาสนกิจของพระสงฆ์ไทยในเกาหลี โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

“สาธารณสงเคราะห์” ศาสนกิจของพระสงฆ์ไทยในเกาหลี โดย พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท

สัปดาห์ที่แล้วเล่าถึงกิจวัตรประจำวันของพระสงฆ์ผู้เดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจในเกาหลี รวมถึงการเดินทาง ความเป็นอยู่ วันนี้ขอกล่าวถึงพระสงฆ์กับงานสาธารณสงเคราะห์ ซึ่งเป็นงานหนึ่งในหกด้านของกรอบงานของการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาของมหาเถรสมาคม งานด้านสาธารณสงเคราะห์ ถือได้ว่าเป็นงานที่เป็นพลังสำคัญในการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา เป็นงานที่มหาเถรสมาคมกำหนดให้พระสงฆ์ได้ทำหน้าที่ช่วยเหลือสังคมทั้งในยามปกติ ยามปกติก็ให้กำลังใจ ให้ธรรมะเป็นเครื่องเจริญจิตใจ และเกิดปัญหาภัยธรรมชาติต่างๆ อุทกภัย อัคคีภัย เป็นต้นก็ช่วยเหลือเท่าที่กำลังจะทำได้ “สาธารณสงเคราะห์” ศาสนกิจของพระสงฆ์ไทยในเกาหลี โดย...

รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๒๙) ความกตัญญูต่อแม่พ่อเป็นมงคลอันสูงสุด

แท้จริงแล้วทุกๆ วันคือวันแม่และวันพ่อ เพราะแม่และพ่ออยู่ในตัวเรา ทุกอณูของเราก็คือท่าน ไม่ว่าท่านยังอยู่ หรือจากไป ท่านก็คือเรา และเราก็คือท่าน ความกตัญญูต่อท่านจึงเป็นเรื่องสำคัญมากในชีวิตกว่าสิ่งอื่นใด ทำให้ผู้เขียนระลึกถึงหนังสือ “หลักการทำบุญและการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” โดยพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)  ตีพิมพ์เป็นครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙  ซึ่งเนื้อหาในเล่มเป็นจดหมายฉบับยาวสี่ฉบับที่ท่านเขียนถึงโยมพ่อใหญ่และโยมแม่ใหญ่ (คุณปู่กับคุณย่า) ของท่านเพื่อส่งทอดธรรมะที่ท่านปฏิบัติในระหว่างการบวชเรียนเพื่อน้อมระลึกถึงพระคุณของท่านโดยตลอด มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์...
หนังสือ "ธรรมราชินี" โดย กองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ

น้อมเศียรเกล้าศึกษา “ธรรมราชินี” ๘๗ พรรษาพระพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

เนื่องในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน มีพระพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ สถิตเป็นมิ่งขวัญของปวงพสกนิกรชาวไทยไปชั่วกาลนาน
จาริกธรรมในอเมริกา ตอนที่๔ /๑ ตอน เรื่องอะไรที่ฉันไม่รู้ โดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย

จาริกธรรมในอเมริกา ตอนที่๔ /๑ “เรื่องอะไรที่ฉันไม่รู้” โดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย

พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย ผู้เขียน : พระธรรมทูต กลุ่มเพื่อชีวิตดีงาม สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศฯ เรื่องเล่าจากพระธรรมทูตในสหรัฐอเมริกา ระหว่างการปฏิบัติศาสนกิจในชีวิตประจำวัน กับความไม่รู้ที่แปรเปลี่ยนเป็นปัญญา ...

จาริกธรรมสกอตแลนด์ (ตอนที่ ๑๑) “สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) กับสำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ฯ โดย พระใบฏีกาคทาวุธ คเวสกธมฺโม

จาริกธรรมสกอตแลนด์ตอนที่ ๑๑ เพื่อน้อมรำลึก ๖ ปี มรณกาล สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ ป.ธ.๙), อดีตประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช, อดีตประธานกรรมการมหาเถรสมาคม, อดีตเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก, อดีตประธานสำนักงานกำกับดูและพระธรรมทูตไปต่างประเทศ รูปแรก และอดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร วันที่ ๑๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ในฐานะที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นผู้วางรากฐานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย และเป็นคณะสงฆ์ไทยคณะแรกที่ได้จาริกธรรมมาในดินแดนยุโรปอย่างเป็นทางการ จนส่งผลให้การทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในและต่างประเทศมีความมั่นคงเป็นปึกแผ่นมาจนถึงทุกวันนี้อย่างที่คณะสงฆ์ไทยปฏิเสธไม่ได้เลย ...

รำลึกวันวาน… มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (ตอนที่ ๑๑) ครูบาอาจารย์ คือ รุ่งอรุณทางความคิด

นอกจากหนังสือหลายๆ เล่มที่เป็นแรงบันดาลใจในชีวิตของพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) แล้ว อาทิ หนังสือ "นายแพทย์ชิวาโก" ที่ส่งทอดพลังความคิดมายังอุดมการณ์การบวชเรียนในชีวิตที่คิดช่วยเหลือผู้คนมาโดยตลอด นอกจากนี้ก็ยังมีหนังสือ “สิทธารถะ”,  “บทเรียน” , และ “เดเมียน” ของเฮอร์มานน์  เฮสเส นักเขียนชาวเยอรมัน-สวิส ผู้ได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม ในปี ๒๕๘๘ ( ค.ศ. ๑๙๔๕) สำนวนแปลของ สดใส
คำสอนอาจารย์ โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ เรื่อง ปัญญวชิรา ภาพ

“คำสอนอาจารย์” โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปัญโญ

พระครูใบฎีกามงคล วชิรปญฺโญ ผู้เขียน "เขียนไว้เป็นอนุสรณ์ ในวันที่ยากจะก้าวผ่าน แต่มีปณิธานของอาจารย์ส่องทาง " โดย พระครูใบฎีกามงคล วชิรปญฺโญ
ขอขอบคุณ ภาพจาก สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศฯ

พลิกฟื้น “บวร” ในสังคมพหุวัฒนธรรม ก้าวไปด้วยกัน สันติสุข โดย พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี ป.ธ.๙, ดร.

ถ้าเราคิดว่าโรงเรียนนี้เป็นสมบัติของทุกคน ถ้าเรารักสมบัติของเราก็ต้องสนใจดูแล เช่นเดียวกับพระพุทธศาสนาเป็นสมบัติของเราทุกคนชาวไทย ถ้าเรารักก็ต้องร่วมกันปกป้องรักษา เพราะทุกอย่างล้วนเป็นสมบัติของเราชาวไทยที่จะต้องรักษาและปกป้องในฐานะผู้สืบทอดต่อไป” เว้นวรรค ท่องเที่ยวระหว่างทางไป “เล ดาลัก” ตัดสลับกลับมาที่การถอดบทเรียนโครงการ “เยี่ยมพระพบปะโยม”  ณ โรงเรียนชุมชนวัดป่าศรี อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ ๑๕-๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อลงพื้นที่ให้กำลังใจกับพระสงฆ์และให้ธรรมะกับอุบาสกอุบาสิกาชาวพุทธในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้กันต่อ ในระหว่างการเดินทางครั้งนั้น ทำให้ระลึกถึงคำกล่าวของพระเดชพระคุณพระพิศาลสิกขกิจ...

TRENDING RIGHT NOW