ธรรมนิพนธ์เรื่อง "ลูกผู้ชายต้องบวช" เขียนโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น /ที่ปรึกษา พระเทพรัตนมุนี ,พระครูอมรโฆสิต (ปรีชา สาเส็ง) และ พระมหาธีระศักดิ์ ธีรปญฺโญ/ภาพถ่าย : พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส /แบบปก - รูปเล่ม : พระมหาเดชา ปญฺญาคโม และ พระมหาสมบัติ ภูริปญฺโญ /บรรณาธิการ : พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี และ มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ /ผู้อุปถัมภ์การจัดพิมพ์ โตโยต้าบัสส์ จำกัด/ จัดพิมพ์โดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศฯ กรุงเทพมหานคร (ฉบับธรรมทาน)

“ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช” (ตอนที่ ๓๘) บรรพ์ที่ ๗ “สิ่งที่พระภิกษุผู้บวชใหม่ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับอภิสมาจาร” คือ วินัยส่วนที่เป็นขนบธรรมเนียม ตอน รองเท้าที่ทรงอนุญาต เขียนโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร)...

พระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร พระพุทธรูปปางห้ามญาติศิลปะสุโขทัยตอนต้น วัดสระเกศฯ : ภาพถ่ายโดย มนสิกุล วันนี้วันพระ วันมาฆบูชา วันพุธที่ ๑๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๕ ขึ้น ๑๕ ค่ำ...
ธรรมนิพนธ์เรื่อง "ลูกผู้ชายต้องบวช" เขียนโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น /ที่ปรึกษา พระเทพรัตนมุนี ,พระครูอมรโฆสิต (ปรีชา สาเส็ง) และ พระมหาธีระศักดิ์ ธีรปญฺโญ/ภาพถ่าย : พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส /แบบปก - รูปเล่ม : พระมหาเดชา ปญฺญาคโม และ พระมหาสมบัติ ภูริปญฺโญ /บรรณาธิการ : พระมหาขวัญชัย กิตฺติเมธี และ มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ /ผู้อุปถัมภ์การจัดพิมพ์ โตโยต้าบัสส์ จำกัด/ จัดพิมพ์โดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศฯ กรุงเทพมหานคร (ฉบับธรรมทาน)

ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๓๗) บรรพ์ที่ ๗ สิ่งที่พระภิกษุผู้บวชใหม่ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับอภิสมาจาร คือ วินัยส่วนที่เป็นขนบธรรมเนียม ตอน กายบริหาร การดูแลสุขภาพร่างกาย เขียนโดย...

ธรรมนิพนธ์เรื่อง "ลูกผู้ชายต้องบวช" เขียนโดย พระอาจารย์ญาณวชิระ (เทอด ญาณวชิโร) พระราชกิจจาภรณ์ ในขณะนั้น /ที่ปรึกษา พระเทพรัตนมุนี ,พระครูอมรโฆสิต (ปรีชา สาเส็ง) และ พระมหาธีระศักดิ์ ธีรปญฺโญ/ภาพถ่าย : พระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส /แบบปก - รูปเล่ม : พระมหาเดชา ปญฺญาคโม และ พระมหาสมบัติ ภูริปญฺโญ...
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง "หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น พิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ฉบับธรรมทาน : คณะสาธยายพระไตรปิฎก โดยคุณรุ่งนภา ปัญญาวรากร คุณวิไล พชรโชค และญาติธรรม พิมพ์ที่ สำนักพิมพ์ อนันตะ

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๑๑) “พรหม : ชีวิตที่อยู่นอกเหนือจากสิ่งที่เรารับรู้ได้ ” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย...

วันนี้วันพระ วันพุธที่ ๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๓ "การทำบุญนั้น ไม่จำเป็นต้องไปขวนขวายแแสวงบุญจากที่ไหน เพราะบุญอยู่ในตัวเรา จึงควรขวนขวายแแสวงบุญในตัวเรานี้แหละ เราสามารถทำบุญได้ตลอดทั้งวัน ตั้งแต่ตื่นนอนจวบจนเมื่อหัวถึงหมอน กายเป็นที่ตั้งแห่งบุญ วาจาเป็นที่ตั้งแห่งบุญ ...
ภาพวาด โดย มนสิกุล วันพฤหัสบดีที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖ ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๓

ปักกลดกลางใจ (๑) การเดินทางของเจ้าชายสิทธัตถะเพื่อตามหาความรักที่แท้จริงจากแม่ เขียนโดย มนสิกุล

ปักกลดกลางใจ (๑) การเดินทางของเจ้าชายสิทธัตถะเพื่อตามหาความรักที่แท้จริงจากแม่ ที่ใดมีความรักที่แท้จริง ที่นั่นมีความมั่นคง ความรักของแม่ แท้จริง มั่นคง ปลอดภัย
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง "หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น พิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ฉบับธรรมทาน : คณะสาธยายพระไตรปิฎก โดยคุณรุ่งนภา ปัญญาวรากร คุณวิไล พชรโชค และญาติธรรม พิมพ์ที่ สำนักพิมพ์ อนันตะ

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๑๐) “เล่าเรื่องอรูปฌาน” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)...

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๑๐) “เล่าเรื่อง อรูปฌาน ” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน”
กราบขอบพระคุณ ภาพถ่ายจากพระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ ฯ

ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๓๕) บรรพ์ที่ ๗ สิ่งที่พระภิกษุผู้บวชใหม่ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับอภิสมาจาร คือ วินัยส่วนที่เป็นขนบธรรมเนียม ตอน บาตร และประวัติบาตร เขียนโดย ญาณวชิระ...

กราบขอบพระคุณ ภาพถ่ายจากพระมหาปฐมพงศ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ ฯ วันนี้วันพระ วันจันทร์ที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๒
ธรรมนิพนธ์ เรื่อง "หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน" เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้น พิมพ์ครั้งที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ฉบับธรรมทาน : คณะสาธยายพระไตรปิฎก โดยคุณรุ่งนภา ปัญญาวรากร คุณวิไล พชรโชค และญาติธรรม พิมพ์ที่ สำนักพิมพ์ อนันตะ

จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๙) “พรหมโลก โลกของผู้เข้าถึงความเป็นหมู่พรหม” : จาก ธรรมนิพนธ์เรื่อง “หลักการทำบุญและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน” เขียนโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด...

วันนี้วันพระ วันจันทร์ที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒ “สุขสฺเสตํ อธิวจนํ ปุญฺญานิ”คำว่าบุญ เป็นชื่อของความสุข จดหมายถึงโยมแม่ใหญ่ ฉบับที่ ๔ (ตอนที่ ๙)
พระมหา ดร.ขวัญชัย กิตฺติเมธี

เมื่อโควิดนำความเปลี่ยนแปลงสังคมมาให้ พระรัตนตรัยแก้ไขวิกฤตินี้อย่างไร ปุจฉา-วิสัชนากับ พระมหา ดร.ขวัญชัย กิตฺติเมธี

"โควิดกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป" ภาพวาดโดย มนสิกุล ๔ มกรา ๒๕๖๕ คำถาม: สังคมเปลี่ยนไปแล้วจริงๆ จะว่า โควิดนำความเปลี่ยนแปลงมาให้ส่วนหนึ่งก็อาจจะใช่ เมื่อมนุษย์ต้องห่างกัน การสื่อสารก็น้อยลง ก็อาจเกิดความหวาดระแวงกันมากขึ้น ความเมตตาต่อกันน้อยลง  ความกลัวมากขึ้น ขณะเดียวกัน อีกส่วนหนึ่งครอบครัวก็ใกล้ชิดมากขึ้น ดูแลกันมากขึ้น ...
ภาพถ่ายโดย มนสิกุล (หมอนไม้ : นามปากกา)

๑๐๐ ปีชาตกาลแม่ทัพธรรมสตรี ผู้มีคุณูปการทั้งทางโลกและทางธรรม (ตอนที่ ๒) แสงสว่างจากท่านพุทธทาส เรื่องและภาพโดย หมอนไม้

ก่อนที่ท่านพุทธทาสจะละสังขารไปเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๖  สิ่งหนึ่งที่ท่านเป็นห่วงคือจะทำอย่างไรให้ลูกผู้หญิงได้มีโอกาสปฏิบัติธรรมเช่นเดียวกับลูกผู้ชาย ดังปรากฎอยู่ในบันทึกของท่านตอนหนึ่งว่า ... มโนธาตุในใจ คือความตระหนักรู้ถึงเหตุปัจจัยในการสร้างอาศรมสำหรับลูกสาวแห่งนี้ขึ้นมาก็เพื่อให้เป็นที่พึ่งของลูกผู้หญิง เพราะสวนโมกขพลารามที่เกิดขึ้นมาได้ก็เพราะเงินก้อนสุดท้ายของผู้หญิงคนหนึ่ง คือคุณแม่เคลื่อน พานิช โยมแม่ของท่านพุทธทาส ที่สนับสนุนลูกให้เดินไปบนหนทางนี้จนถึงที่สุดแห่งทุกข์ นั่นเอง

TRENDING RIGHT NOW